GETTING MY ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา TO WORK

Getting My ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา To Work

Getting My ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา To Work

Blog Article

ความเคลื่อนไหว จดหมายข่าวถึงเพื่อนภาคี

แผนกลยุทธ์/แผนการดำเนินงาน แผนกลยุทธ์

ความเหลื่อมล้ำด้านคุณภาพการศึกษามีแนวโน้มที่สูงขึ้น:

การประชาสัมพันธ์ให้เห็นถึงปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา สามารถทำให้ผู้คนตระหนัก และเข้าใจถึงปัญหาได้ดีมากยิ่งขึ้น การแพร่กระจายข่าวสารเพื่อสร้างความตระหนักรู้ อาจทำได้โดยการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อช่องทางต่างๆ เช่น โซเชียลมีเดียที่เข้าถึงผู้คนได้อย่างหลากหลาย ง่ายดาย และรวดเร็ว หรืออาจเป็นการประชาสัมพันธ์ผ่านโครงการ หรือหน่วยงานต่างๆ ที่น่าเชื่อถือ และมีส่วนเกี่ยวข้อง ซึ่งจะช่วยให้ข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาถูกสื่อสารไปถึงประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 

“ที่ผมสนใจทำเรื่องนี้ เพราะตระหนักถึงปัญหานี้มาโดยตลอดชีวิตการทำงาน ไม่ว่าจะเป็นพื้นที่ยากลำบากในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ หรือพื้นที่ใกล้เมืองอย่างจังหวัดนครนายก ล้วนประสบปัญหาความเหลื่อมล้ำ แต่อาจจะแตกต่างในมิติที่มาของปัญหาที่มีรายละเอียดแตกต่างกันออกไป ตอนมาเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดนครนายกซึ่งเป็นช่วงสามปีสุดท้ายของชีวิตราชการที่แอบคิดว่าจะสบายๆ แต่สุดท้ายเราพบว่าในจังหวัดมีแม่วัยใสและเด็กเดินยา มีปัญหาพ่อแม่แยกทางจำนวนมาก

Practical cookies help to conduct specific functionalities like sharing the content of the web site on social networking platforms, collect ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา feedbacks, and various 3rd-party capabilities. Overall performance General performance

Usually Enabled Needed cookies are absolutely essential for the web site to operate correctly. These cookies guarantee essential functionalities and security features of the website, anonymously.

สังคมไทยยังคงเป็นสังคมที่ให้ความสำคัญ และให้คุณค่ากับการเรียนการสอนในเชิงทักษะทางด้านวิชาการมากกว่าทักษะทางด้านสังคม รวมถึงระยะเวลาที่ยาวนานในการเล่าเรียน จึงทำให้เยาวชนขาดทักษะทางด้านสังคม ขาดการเรียนรู้เพื่อการเสริมสร้างทักษะชีวิต และสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้คน ทำให้แม้ว่าจะมีความรู้ และทักษะที่ดีในเชิงวิชาการ แต่กลับไม่สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้

ปลดล็อกท้องถิ่น – โรงเรียน เพิ่มโอกาสกระจายทรัพยากร

ไม่มีระบบการตรวจสอบข้อมูลจากทางโรงเรียนก่อนกรอกในระบบ เกิดความคลาดเคลื่อน ไม่สมบูรณ์ของข้อมูล รวมถึงความเข้าใจผิดระหว่างทางการและโรงเรียน

การที่มีสภาพแวดล้อมไม่เหมาะแก่การศึกษา การสนับสนุนของครอบครัวไม่เอื้ออำนวย หรือการขาดคุณภาพชีวิตที่ดี ส่งผลให้เด็ก และเยาวชนไทยบางส่วนถูกผลักให้ออกไปจากระบบการศึกษา ขาดการเรียนรู้ในวิชาชีพ การเรียนรู้ทางสังคม หรือการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดี ทำให้เด็ก และเยาวชนบางรายกลายเป็นประชากรที่ไร้คุณภาพ นำไปสู่การเกิดปัญหาสังคม และปัญหาอาชญากรรมตามมา

ทุนการศึกษา ส่งน้องเรียน สร้างเด็กดี

นโยบายการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษา

ลดขนาดของการจัดการในระดับประเทศ มาเป็นระดับพื้นที่        

Report this page